ไฟล์:พงศาวดาร (หัตถเลขา) - ๒๔๕๗.pdf

ลิงก์ไปยังหน้าดัชนี
ไปหน้า
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →
หน้าถัดไป →

ไฟล์ต้นฉบับ(3,854 × 5,558 พิกเซล, ขนาดไฟล์: 70.7 เมกะไบต์, ประเภท MIME: application/pdf, 770 หน้า)

ไฟล์นี้มาจาก วิกิมีเดียคอมมอนส์ และอาจมีใช้ในโครงการอื่น คำอธิบายในหน้าคำอธิบายไฟล์แสดงไว้ด้านล่างนี้

ความย่อ

English: Royal Chronicle: Royally Handwritten Version

ไทย: พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา

 th:พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา/เล่ม 1  (Wikidata search (Cirrus search) Wikidata query (SPARQL)  Create new Wikidata item based on this file)
ผู้สร้างสรรค์
institution QS:P195,Q13026749
image of artwork listed in title parameter on this page
บรรณาธิการ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  (1862–1943)  wikidata:Q1158913 s:th:ผู้สร้างสรรค์:สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ชื่ออื่น
Prince Damrong; Damrong Rachanuphap; Kromphraya Damrong Rachanuphap; Kromphraya Damrong Rajanubhab
คำอธิบาย Thai นักการเมือง, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, กวี และ เจ้าแผ่นดิน
วันเกิด/วันเสียชีวิต 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 แก้ไขที่วิกิสนเทศ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486 แก้ไขที่วิกิสนเทศ
สถานที่เกิด/สถานที่เสียชีวิต กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
งานควบคุมรายการหลักฐาน
editor QS:P98,Q1158913
ชื่อเรื่อง
English: Royal Chronicle: Royally Handwritten Version
ไทย: พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา
เล่มที่ 1
รุ่น 2
ผู้เผยแพร่
institution QS:P195,Q13026749
โรงพิมพ์
institution QS:P195,Q105592603
คำอธิบาย
English: Phra Ratcha Phongsawadan Chabap Phra Ratcha Hatthalekha ("Royal Chronicle: Royally Handwritten Version") is a chronicle of the kingdoms of Ayutthaya, Thon Buri, and Rattanakosin. It is a revised version of a previous chronicle of Siam, done by King Mongkut and Prince Wongsathiratsanit in the year 2398 Buddhist Era (1855/56 Common Era). The present edition is the second edition, containing additional commentaries by Prince Damrongrachanuphap, published in two volumes:
  • Volume 1, published in 2457 Buddhist Era (1914/15 Common Era), dealing with the reign of King Uthong until the reign of King Sisaowaphak.
  • Volume 2, Part 1, published in 2495 Buddhist Era (1952 Common Era), dealing with the reign of King Songtham until the reign of King Suriyamarin.
  • Volume 2, Part 1, published in 2495 Buddhist Era (1952 Common Era), dealing with the interregnum period (after the fall of Ayutthaya) until the reign of King Rama I of Rattanakosin.
ไทย: พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เป็นพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ทรงนำพงศาวดารฉบับก่อนหน้ามาช่วยกันชำระใน พ.ศ. ๒๓๙๘ ฉบับนี้เป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ มีคำอธิบายประกอบของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระดำรงราชานุภาพ เนื้อหาแบ่งเป็น ๒ เล่มดังนี้
  • เล่ม ๑ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ ว่าด้วยรัชกาลพระเจ้าอู่ทอง–เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์
  • เล่ม ๒ ตอน ๑ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕ ว่าด้วยรัชกาลพระเจ้าทรงธรรม–พระที่นั่งสุริยามรินทร์
  • เล่ม ๒ ตอน ๒ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕ ว่าด้วยระหว่างจลาจล (หลังเสียกรุงศรีอยุธยา)–รัชกาลที่ ๑ กรุงรัตนโกสินทร์
ภาษา ไทย
เผยแพร่ครั้งแรก 2456 หรือ 2457
publication_date QS:P577,+1914-00-00T00:00:00Z/9
สถานที่จัดพิมพ์ Bangkok
แหล่งที่มา โบราณคดีสโมสร (๒๔๕๗) (ไทย) พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา, ๑, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทย
เวอร์ชันอื่น Volumes: 12.12.2

การอนุญาตใช้สิทธิ

Public domain
ภาพหรือสื่อนี้ ถือเป็นงานอันไม่มีลิขสิทธิ์ในเขตอำนาจศาลไทย เนื่องจากลิขสิทธิ์หมดอายุแห่งการคุ้มครองแล้ว ตามมาตรา ๑๙ ถึงมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ดังนี้:

มาตรา ๑๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย
ในกรณีที่มีผู้สร้างสรรค์ร่วม ลิขสิทธิ์ในงานดังกล่าวให้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วม และมีอยู่ต่อไปอีกเป็นเวลาห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย
ถ้าผู้สร้างสรรค์หรือผู้สร้างสรรค์ร่วมทุกคนถึงแก่ความตายก่อนที่ได้มีการโฆษณางานนั้น ให้ลิขสิทธิ์ดังกล่าวมีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่ผู้สร้างสรรค์เป็นนิติบุคคล ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๐ งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
ในกรณีที่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ให้นำมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๒ ลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ให้มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุยี่สิบห้าปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก
มาตรา ๒๓ ลิขสิทธิ์ในงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมตามมาตรา ๑๔ ให้มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น แต่ถ้าได้มีการโฆษณางานนั้นในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุห้าสิบปีนับแต่ได้มีการโฆษณาเป็นครั้งแรก

สำหรับผู้อัปโหลด : โปรดระบุชนิดของงาน วันที่สร้างสรรค์หรือวันที่เผยเพร่งาน ตลอดจนรายละเอียดอื่นให้ละเอียดและชัดเจน

นอกจากนี้คุณอาจต้องเพิ่มป้ายสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา เพื่อระบุว่าเหตุใดงานนี้จึงเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริกา โปรดทราบว่างานนี้อาจไม่เป็นสาธารณสมบัติในประเทศที่ไม่ได้ใช้กฎระยะเวลาคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่สั้นกว่า และมีข้อกำหนดด้านลิขสิทธิ์ที่ยาวนานกว่าอายุของผู้สร้างสรรค์บวกไปอีก 60 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเม็กซิโก 100 ปี, จาเมกา 95 ปี, โคลอมเบีย 80 ปี, กัวเตมาลาและซามัว 75 ปี, สวิตเซอร์แลนด์และสหรัฐอเมริกา 70 ปี และเวเนซุเอลา 60 ปี

Flag of Thailand
Flag of Thailand

ประวัติไฟล์

คลิกวันที่/เวลาเพื่อดูไฟล์ที่ปรากฏในขณะนั้น

วันที่/เวลารูปย่อขนาดผู้ใช้ความเห็น
ปัจจุบัน23:25, 15 มิถุนายน 2564รูปย่อสำหรับรุ่นเมื่อ 23:25, 15 มิถุนายน 25643,854 × 5,558, 770 หน้า (70.7 เมกะไบต์)BitterschokoUploaded a work by {{institution:Historical Society of Siam}} from {{th|1=โบราณคดีสโมสร (ผู้รวบรวม). (๒๔๕๗). ''พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา เล่ม ๑''. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทย.}} with UploadWizard

39 หน้าต่อไปนี้ใช้ไฟล์นี้:

ข้อมูลอภิพันธุ์